๑. ด้านกายภาพ
๑.๑ ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล
เทศบาลตำบลท่าไม้รวก ตั้งอยู่ เลขที่ ๑๐๔ หมู่ที่ ๕ ต.ท่าไม้รวก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี อยู่ห่างจากตัวอำเภอ
ท่ายางไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดเพชรบุรีประมาณ ๔๐ กิโลเมตร
อาณาเขตติดต่อ
เทศบาลตำบลท่าไม้รวก ได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้งองค์การบริหาร ส่วนตำบลท่าไม้รวกเป็นเทศบาลตำบลท่าไม้รวก ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๑ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๑
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ตำบลวังไคร้ |
อำเภอท่ายาง |
จังหวัดเพชรบุรี |
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ตำบลแขากระปุก |
อำเภอท่ายาง |
จังหวัดเพชรบุรี |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ตำบลท่าคอย |
อำเภอท่ายาง |
จังหวัดเพชรบุรี |
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ตำบลกลัดหลวง |
อำเภอท่ายาง |
จังหวัดเพชรบุรี |
๑.๒ ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มสู่แม่น้ำเพชรบุรี และเป็นเนินเขาบ้างในบางส่วน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ระดับ เดียวกัน ในบริเวณพื้นที่ใกล้เนินเขาจะเป็นสวนป่าไม้ธรรมชาติ และพื้นที่ใกล้แม่น้ำเพชรบุรีจะเป็นพื้นที่ลุ่ม พื้นที่ดินส่วนใหญ่ เป็นดินร่วนเหมาะสำหรับทำการเกษตร
๑.๓ ลักษณะภูมิอากาศ
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม - เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย ๓๓ องศาเซลเซียส
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม - พฤศจิกายน อุณหภูมิเฉลี่ย ๓๐ องศาเซลเซียส
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย ๒๗ องศาเซลเซียส
๑.๔ ลักษณะของดิน
พื้นที่ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนเหมาะสำหรับทำการเกษตร
๑.๕ ลักษณะของแหล่งน้ำ
ตำบลท่าไม้รวกมีแม่น้ำเพชรบุรีไหลผ่านตำบลท่าไม้รวก ความยาวประมาณ ๒๕ กิโลเมตรเป็นแม่น้ำสายหลักที่ ราษฎรได้ใช้ในการหล่อเลี้ยงชีวิตมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
๑.๖ ลักษณะของไม้และป่าไม้
ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าและมีประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งในเขตพื้นที่ตำบล ท่าไม้รวกมีพื้นที่เป็นป่าเบญจพรรณคิดเป็นประมาณร้อยละ ๖๐ ของพื้นที่ทั้งหมด
๒. เขตการปกครอง
มีเขตการปกครอง ๑ ตำบล คือ ตำบลท่าไม้รวก
- จำนวนหมู่บ้าน ๑๓ หมู่บ้าน ( แสดงจำนวนหมู่บ้านที่อยู่ในเขตพื้นที่เทศบาล)
หมู่ที่ |
ชื่อบ้าน |
กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน |
เนื้อที่โดยประมาณ |
|
ตร.กม. |
ไร่ |
|||
๑ |
บ้านท่าไม้รวก |
นายณเรียน ปิ่นทอง /กำนัน |
๑๒.๓๐ |
๗,๖๘๗.๕๐ |
๒ |
บ้านหนองเตียน |
นายอณุ อินทร์แย้ม |
๑๑.๐๐ |
๖,๘๗๕.๐๐ |
๓ |
บ้านในคุ้ง |
นายสุวินัย ทับห้าง |
๓.๒๐ |
๒,๐๐๐.๐๐ |
๔ |
บ้านหนองชุมแสง |
นางชูขวัญ รุ่งเรือง |
๖.๓๔ |
๓,๙๖๒.๕๐ |
๕ |
บ้านท่าลาว |
นายสมคิด ใจฉ่ำ |
๑๒.๔๐ |
๗,๗๕๐.๐๐ |
๖ |
บ้านเขาลูกช้าง |
นายสัญญา อินพล |
๑๑.๕๐ |
๗,๑๘๗.๕๐ |
๗ |
บ้านไร่หลวง |
นายชิติสรรค์ กอเจริญกุลศิริ |
๕.๘๐ |
๓,๖๒๕.๐๐ |
๘ |
บ้านท่าไม้รวกล่าง |
นายวิทยา แสนกล้า |
๑๒.๖๐ |
๗,๘๗๕.๐๐ |
๙ |
บ้านห้วยตะวาย |
นายฉัตรชัย จันทร์แจ่ม |
๒๒.๕๐ |
๑๔,๐๖๒.๕๐ |
๑๐ |
บ้านโค้งตาบาง |
นายวิชิต นาคน้อย |
๖.๘๐ |
๔,๒๕๐.๐๐ |
๑๑ |
บ้านหนองชุมแสงล่าง |
นายชัยนาถ เอี่ยมรัตน์ |
๓.๓๐ |
๒,๐๖๒.๐๐ |
๑๒ |
บ้านหนองเตียนล่าง |
นายฤกษ์ แช่มเทศ |
๖.๒๐ |
๓,๘๗๕.๐๐ |
๑๓ |
บ้านหนองชุมแสงบน |
นายเสก แสงทอง |
๓.๕๐ |
๒,๑๗๘.๕๐ |
|
รวม |
๑๑๗.๔๔ |
๗๓,๔๐๐.๐๐ |
๓.ประชากร
๓.๑ ข้อมลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
หมู่ที่ |
ชื่อบ้าน |
จำนวนประชากร |
จำนวนครัวเรือน |
||
ชาย |
หญิง |
รวม |
|||
๑ |
บ้านท่าไม้รวก |
๓๓๘ |
๓๔๔ |
๖๘๒ |
๒๓๑ |
๒ |
บ้านหนองเตียน |
๔๔๒ |
๔๗๔ |
๙๑๖ |
๒๙๐ |
๓ |
บ้านในคุ้ง |
๒๔๔ |
๒๕๘ |
๕๐๒ |
๑๓๕ |
๔ |
บ้านหนองชุมแสง |
๒๗๘ |
๓๒๖ |
๖๐๔ |
๒๕๘ |
๕ |
บ้านท่าลาว |
๓๙๘ |
๔๐๐ |
๗๙๘ |
๒๙๖ |
๖ |
บ้านเขาลูกช้าง |
๕๖๓ |
๕๒๘ |
๑,๐๙๑ |
๕๑๕ |
๗ |
บ้านไร่หลวง |
๓๓๗ |
๓๓๗ |
๖๗๔ |
๑๙๕ |
๘ |
บ้านท่าไม้รวกล่าง |
๒๔๕ |
๒๔๑ |
๔๘๖ |
๑๕๙ |
๙ |
บ้านห้วยตะวาย |
๓๕๑ |
๔๑๔ |
๗๖๕ |
๓๐๑ |
๑๐ |
บ้านโค้งตาบาง |
๔๘๘ |
๔๙๓ |
๙๘๑ |
๒๖๘ |
๑๑ |
บ้านหนองชุมแสงล่าง |
๒๒๖ |
๒๕๓ |
๔๗๙ |
๑๕๕ |
๑๒ |
บ้านหนองเตียนล่าง |
๓๐๒ |
๒๗๘ |
๕๘๐ |
๑๙๓ |
๑๓ |
บ้านหนองชุมแสงบน |
๒๙๙ |
๓๑๑ |
๖๑๐ |
๑๘๑ |
|
รวม |
๔,๕๑๑ |
๔,๖๕๗ |
๙,๑๖๘ |
๓,๑๗๖ |
ที่มา : ฝ่ายงานทะเบียนและบัตร ที่ว่าการปกครองอำเภอท่ายาง ธันวาคม ๒๕๖๒
๔. สภาพทางสังคม
๔.๑ การศึกษา
๑ การศึกษา
- โรงเรียนประถมศึกษามี ๔ แห่ง คือ
๑. โรงเรียนบ้านท่าไม้รวก
๒. โรงเรียนบ้านท่าลาว
๓. โรงเรียนบ้านหนองชุมแสง
๔. โรงเรียนบ้านหนองเตียน
๔. โรงเรียนวัดพระพุทธบาทเขาลูกช้าง (ขยายโอกาส)
๑. โรงเรียนหนองชุมแสงวิทยา
-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๕ แห่ง คือ
๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าไม้รวก หมู่ที่ ๑
๒. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดหนองเตียน หมู่ที่ ๒
๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองชุมแสง หมู่ที่ ๔
๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาลูกช้าง หมู่ที่ ๖
๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่หลวง หมู่ที่ ๗
๔.๒ สาธารณสุข
๑. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองชุมแสง
๒. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเตียน
๓. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไม้รวก
- สถานพยาบาลเอกชน ( แบบไม่พักค้าง) ๒ แห่ง
- ร้านขายยาปัจจุบัน ๓ แห่ง
- อัตราการมีและมีส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐
๔.๓ อาชญากรรม
- สถานีตำรวจมี ๑ แห่ง
๑. สถานีตำรวจภูธรท่าไม้รวก
- ศูนย์อำนวยการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ๑ แห่ง
๑. ศูนย์อำนวยการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เทศบาลตำบลท่าไม้รวก
๕. ระบบบริการพื้นฐาน
๕.๑ การคมนาคมขนส่ง
- ถนนสายหลัก คือ ถนนลาดยางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๗๕ เริ่มด้นจากสี่แยกเขื่อนเพชรเข้าไปในหมู่บ้าน เขาลูกช้าง โดยตัดผ่านเขื่อนเพชร บ้านศรีชุมแสง บ้านไร่หลวง บ้านท่าลาว และผ่านวัดพระพุทธบาทเขาลูกช้างไปจนถึง ยางชุม มีความกว้าง ๙ เมตร และความยาวจากแยกเขื่อนถึงเขาลูกช้างยาวประมาณ ๑๕ กิโลเมตร ถนนลาดยางที่สำคัญ อีกสองเส้นคือเส้นที่ผ่านบ้านหนองชุมแสง โดยแยกไปทางหมู่บ้านดอนชุนห้วยเป็นระยะทางประมาณ ๑๐ กิโลเมตร อีก เส้นหนึ่งคือเส้นทางที่ผ่านหมู่บ้านเขาลูกช้างไปยังตำบลกลัดหลวง นอกนั้นจะเป็นถนนลาดยางสายสั้นๆ ถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก และมีบางส่วนเป็นถนนลูกรังซึ่งตัดเข้าไปตามหมู่บ้านต่าง ๆ
๕.๒ การไฟฟ้า
๕.๓ การประปา
๕.๔ การโทรศัพท์
ปัจจุบันมีการใช้โทรศัพท์ทุกครัวเรือนส่วนใหญ่จะเป็นระบบมือถือ
๕.๕ ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่งและวัสดุ ครุภัณฑ์
๖.ระบบเศรษฐกิจ
๖.๑ การเกษตร
อาชีพหลัก ของประชากร คือ อาชีพเกษตรกรรม มีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งสั้น ๒๑,๓๘๘ ไร่ แบ่งได้ ดังนี้
ทำนา ๑,๐๖๕ ไร่
ทำสวน ๑๐,๘๕๘ ไร่
ทำไร่ ๙,๔๖๕ ไร่
พืชเศรษฐกิจที่สำคัญคือ
กล้วย มีการปลูกกล้วยชนิดต่างๆ เช่น กล้วยนี้าว้า กล้วยไข่ และกล้วยหอมโดยเฉพาะ กล้วยหอมทองผลผลิตเป็นที่ด้องการของท้องตลาดมาก และยังสามารถส่งออกไปจำหน่ายยังประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย
มะนาว นับเป็นพืชเศรษฐกิจที่ทำรายได้ให้แก่ตำบลมากที่สุด
- ข้าว
-สับปะรด
-อ้อย
-ข้าวโพด
๖.๒ การปศุสัตว์
- เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร แพะ
๖.๓ การบริการ
โรงแรม รีสอร์ท ๔ แห่ง
ร้านอาหาร ๓ แห่ง
ร้านเกมส์อินเตอร์เน็ต ๓ แห่ง
๖.๔ การท่องเที่ยว
ในเขตตำบลมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่วัดพระพุทธบาทเขาลูกช้าง การล่องแก่งในแม่น้ำเพชรบุรี
๖.๕ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
ในเขตเทศบาลตำบลท่าไม้รวกมีกลุ่มอาชีพ
- กลุ่มน้ำพริก หมู่ที่ ๒
-กลุ่มจักสานแข่ง หมู่ที่ ๕
-กลุ่มปันแป้ง หมู่ที่ ๑๒
-กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ไวน์ หมู่ที่ ๑๓
๗. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
๗.๑ การนับถือศาสนา
ประชาชนนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๑๐๐
ซึ่งจะมีสถาบันและองค์กรทางศาสนา
๑. วัดศรีชุมแสงบุญญาราม
๒. วัดท่าลาว
๓. วัดหนองเตียน
๔. วัดพระพุทธบาทเขาลูกช้าง
๑. โรงเจหมู่ที่ ๗ บ้านไร่หลวง
๒. โรงเจหมู่ที่ ๖ บ้านเขาลูกช้าง
๑. สำนักสงฆ์เขาน้อย หมู่ที่ ๑๐
๒. สำนักสงฆ์ท่าไม้รวก หมู่ที่ ๑
๗.๒ ประเพณีและงานประจำปี
๗.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
๗.๔ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
๘. ทรัพยากรธรรมชาติ
๘.๑ นา
แม่น้ำ ตำบลท่าไม้รวกเป็นหนึ่ง ในหลายตำบลที่มีแม่น้ำเพชรบุรีไหลผ่าน ซึ่งประชากรร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ได้ ใช้ประโยชน์จากแม่น้ำเพชรบุรีในการเกษตรกรรม อุปโภค และบริโภค
๘.๒ ป่าไม้
ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าและมีประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งในเขตพื้นที่ ตำบลท่าไม้รวกมีพื้นที่ป่าไม้คิดเป็นประมาณร้อยละ ๔๐ ของพื้นที่ทั้งหมด
๘.๓ ภูเขา
เป็นเนินเขาบ้างในบางส่วน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ระดับเดียวกัน ในบริเวณพื้นที่ใกล้เนินเขาจะเป็นสวนป่าไม้ ธรรมชาติ
๘.๔ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ของเทศบาลตำบลท่าไม้รวกส่วนมากเป็นพื้นที่ดินเหมาะสำหรับเพาะปลูกทำพืชสวน การปลูก มะนาว กล้วยน้ำหว้า กล้วยหอมทองและพืชล้มลุกต่างๆ จะมีการทำนาซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ในเขตหมู่ที่ ๒ บ้านหนอง เตียน มีที่สาธารณะสำหรับใช้เป็นที่พักผ่อนและออกกำลังกาย ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ
|
เทศบาลตำบลท่าไม้รวก
|
|
นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ลิขสิทธิ์ © 2566 เทศบาลตำบลท่าไม้รวก สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด.